หลักฐานการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 รอบ 5 เดือนแรก
(ตุลาคม 2560 - กุมภาพันธ์ 2561)
************************
ตัวชี้วัดที่ 1.7 ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์
1. การพัฒนาระบบ กลไก เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก
1.1 การจัดกิจกรรมประกวด ถอดบทเรียนผู้สูงอายุสุขภาพช่องปากดี
2. การพัฒนาศักยภาพทันตแพทย์/ทันตบุคลากร และภาคีที่เกี่ยวข้อง
2.1 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาศักยภาพการจัดการปัญหาช่องปากผู้สูงอายุสำหรับทันตแพทย์ ภายใต้แผนงานทันตสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุประเทศไทย ปี 2561 วันที่ 29 พย.-1 ธค.2560 ณ โรงแรมรามา การ์เด้น กทม.
2.2 การประชุมเรื่อง การพัฒนาศักยภาพการจัดการปัญหาช่องปาก ผู้สูงอายุสำหรับทันตบุคลากร ภายใต้แผนงานทันตสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุประเทศไทย ปี 2561 วันที่ 17-19 มกราคม 2561 ณ โรงแรมมารวย การ์เด้น กรุงเทพมหานคร
3. การบูรณาการร่วมกับการส่งเสริมสุขภาพ ในกลุ่มภาคีเครือข่ายเกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัดที่ 1.11 ร้อยละตำบลต้นแบบบูรณาการด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่ง แวดล้อม มีนวัตกรรม1.สังคมหรือ Best Practice
1. พัฒนาเครื่องมือสร้างความรอบรู้ ประชากรไทยกลุ่มวัยทำงาน
2. พัฒนาเครื่องมือสร้างความรอบรู้ประชากรไทยกลุ่มวัยสูงอายุ
ตัวชี้วัดที่ 2.5 ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีผลงานวิจัย/R2R/KM ที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์
1. ประเมินผลต้นแบบผู้สูงอายุสุขภาพช่องปากดี
2. ประเมินผลการขยายเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุด้านส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัดที่ 2.6 ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีนวัตกรรม (Innovation Base)
1. การพัฒนานวัตกรรมบริการเพื่อการดูแลช่องปากในผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง
1.1 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อกำหนดรูปแบบ แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ฯ วันที 20 ธค. 2560 ณ โรงแรมเอบีน่า เฮ้าส์ กรุงเทพมหานคร
1.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนากลยุทธ์เพื่อการดูแลช่องปากผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ภายใต้แผนงานทันตสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุประเทศไทย ปี 2561 วันที่ 8-9 กุมภาพันธ์ 2561 โรงแรมเอบีน่า เฮ้าส์ กรุงเทพมหานคร
2. การพัฒนานวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากใน/นอกสถานประกอบการ
-
จังหวัดสระบุรี
-
จังหวัดชลบุรี
ตัวชี้วัดที่ 2.7 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานในระบบเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
1. การพัฒนาระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
2. การพัฒนาระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยสูงอายุ
*******************************