คุณกำลังมองหาอะไร?

ข่

าวประชาสัมพันธ์

อัพเดททุกสาระ ข่าวสารเพื่อสุขภาพ มั่นใจไม่ตกเทรนด์

01. ข่าวสารสำนักทันตสาธารณสุข
กรมอนามัย
ข่าวกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
สำนักทันตสาธารณสุข
ข่าว/ประกาศรับสมัครงาน
สำนักทันตสาธารณสุข
13
ธันวาคม
2567
13.12.2567
โครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้น (4 เดือน) ทันตสาธารณสุข สำหรับทันตแพทย์ ปี 2568

ประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้น (4 เดือน) ทันตสาธารณสุข สำหรับทันตแพทย์ ปี 2568

20
ธันวาคม
2567
20.12.2567
ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนงานทันตสาธารณสุขในบทบาทกรมอนามัย

ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนงานทันตสาธารณสุขในบทบาทกรมอนามัย

25
มีนาคม
2567
โอน ย้าย สมัครงาน
25.03.2567
สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย มีความประสงค์รับโอนข้าราชการพลเรือน ตำแหน่งทันตแพทย์ ระดับปฏิบัติการ/ชำนาญการ/ชำนาญการพิเศษ จำนวน 1 ตำแหน่ง

สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย มีความประสงค์รับโอนข้าราชการพลเรือน ตำแหน่งทันตแพทย์ ระดับปฏิบัติการ/ชำนาญการ/ชำนาญการพิเศษ ตำแหน่งเลขที่ 1831 กลุ่มพัฒนาทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยและวัยเรียน จำนวน 1 ตำแหน่ง

วิ

ดีโอ

& สื่อมัลติมีเดีย

03.07.2567
เพลงแปรงฟันสำหรับเด็กปฐมวัย (อายุต่ำกว่า 6 ปี)

เพลงแปรงฟันสำหรับเด็กปฐมวัย (อายุต่ำกว่า 6 ปี)

อั

ลบั้มภาพ

พร้อมอัพเดท

สาระสุขภาพทันสมัยให้คุณเข้าใจง่าย

ไม่ตกเทรนด์!

calendar Cover for 2024 / 12
ร่

วมแสดงความคิดเห็น

ความพึงพอใจต่อเว็บไซต์สำนักทันตสาธารณสุข
ดูผลโหวต

อินโฟกราฟิก

03.05.2567
กัปตันทูช ชวนส่อง Food ทำร้ายฟัน

อาหารที่ทำให้ฟันผุที่เจอได้มากในชีวิตประจำวัน มีดังนี้ ?? 1.น้ำอัดลมและน้ำหวาน?? เพราะน้ำตาลที่อยู่ในน้ำหวานและน้ำอัดลม จะทำให้เกิดคราบพลัคได้ง่าย อีกทั้งกรดคาร์บอนิก (Carbonic acid) ที่อยู่น้ำอัดลม ยังมีฤทธิ์กัดกร่อนผิวเคลือบฟัน และเป็นต้นเหตุทำให้ฟันสึกกร่อนได้มากที่สุดด้วย ??2.อาหารแข็ง โดยเฉพาะน้ำแข็งและกระดูก?? ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่เป็นของแข็งและเหนียว เช่น น้ำแข็ง ถั่ว หรือกระดูกหมู เพราะเสี่ยงทำให้เกิดฟันบิ่น แตก หรือหักได้ ??3.ผลไม้อบแห้ง?? นอกจากจะมีน้ำตาลสูงแล้ว ยังเป็นอาหารที่มีความเหนียวและแข็งด้วย ติดฟันได้ง่าย ?4.ชาและกาแฟ?? สารเทนนิน (Tannin) ที่พบในชาและกาแฟ มีฤทธิ์กัดกร่อนผิวฟัน และทำให้ฟันสึกกร่อนง่าย ??5.ขนมหวาน ขนมกรุบกรอบ ลูกอม ไอศกรีม?? น้ำตาลจะเข้าไปทำปฏิกิริยากับแบคทีเรียในช่องปาก และทำให้เกิดคราบจุลินทรีย์บนผิวฟัน ???? เพื่อการดูแลสุขภาพฟันจึงควรหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารเหล่านี้ และแปรงวันละ 2 ครั้งด้วยสีฟันผสมฟลูออไรด์ นาน 2 นาที และงดกินอาหารหลังแปรงฟัน 2 ชั่วโมง เพียงเท่านี้ทุก ๆ คนก็จะมีสุขภาพช่องปากและฟันที่แข็งแรงได้แน่นอน ???

05.03.2567
แปรงฟันถูกวิธี...ฟันดีด้วย 6 Step

สำหรับน้อง ๆ หนู ๆ คุณพ่อคุณแม่ ควรมีการสอนการแปรงฟันให้เด็ก ๆ อย่างถูกวิธี เพื่อลดปัญหาสุขภาพช่องปากและโรคฟันผุนะครับ เพราะเด็กที่มีอาการฟันผุในฟันน้ำนม จะมีโอกาสฟันผุในฟันแท้ได้ถึง 3 เท่าเลยทีเดียวครับ ?? มาดูการแปรงฟันถูกวิธี...ฟันดีด้วย 6 Step กันครับ ?? STEP 1 : วางแปรงสีฟันบริเวณรอยต่อของฟันกับเหงือก โดยให้ขนแปรงทำมุม 45 องศา STEP 2 : ขยับขนแปรง ไป-มาสั้น ๆ 10 ครั้งแล้วปัด โดยฟันบนให้ปัดลงล่าง และฟันล่างให้ปัดขึ้นบน STEP 3 : ทำซ้ำที่เดิม 3-4 ครั้ง จากนั้นขยับแปรงไปในตำแหน่งฟันข้างเคียงจนครบทุกซี่ ทุกด้าน STEP 4 : แปรงฟันด้านบดเคี้ยวโดยถูไป-มา ในแนวหน้าหลัง ประมาณ 10 ครั้ง STEP 5 : แปรงลิ้นเบา ๆ เมื่อมีคราบสกปรก STEP 6 : บ้วนฟองทิ้งหรือบ้วนน้ำน้อย ๆ เพียง 1 ครั้ง จะทำให้มีฟลูออไรด์คงเหลืออยู่ในช่องปาก สามารถช่วยป้องกันฟันผุได้ ?? สำคัญ !! ?? - ต้องแปรงฟันให้ถึงฟันกรามซี่ในสุด เพราะเป็นส่วนที่เกิดฟันผุได้ง่าย - เน้นแปรงฟันด้านล่างลิ้น มักแปรงไม่ถึงทำให้มีหินปูนเป็นจำนวนมาก

06.02.2567
”6 ข้ออันตรายจัดฟันแฟชั่น...เสี่ยงทรุดก่อนสวย”

การจัดฟันแฟชั่น เป็นการใส่เครื่องมือเลียนแบบการจัดฟัน ที่ทันตแพทย์ใช้ในการรักษาผู้ป่วย ซึ่งพบมากในกลุ่มวัยรุ่น แล้วรู้กันมั้ยคะว่า การจัดฟันแฟชั่นที่ไมได้มาตรฐาน หรือการจัดฟันโดยบุคลากรที่ไม่ใช่ทันตแพทย์นั้น ”มีอันตรายกว่าที่คิด”. วันนี้เราจะพาทุกคนไปดู ”6 ข้ออันตรายจัดฟันแฟชั่น...เสี่ยงทรุดก่อนสวย จะมีอะไรบ้างไปดูพร้อมๆกันเลยค่ะ 1.ลวดจัดฟันอาจบาดกระพุ้งแก้ม จนเกิดเป็นแผลเรื้อรัง ติดเชื้อ อาจเสี่ยงต่อบาดทะยัก 2.การปรับลวดโดยขาดความชำนาญ เกิดแรงกดในทิศทางไม่เหมาะสม อาจทำให้ปวดฟันมากผิดปกติและฟันเคลื่อนที่ผิดจากตำแหน่งปกติ 3.เครื่องมือจัดฟันที่ติดไม่ถูกต้อง อาจหลุดลงไปติดคอหรือหลอดลม อันตรายถึงชีวิต 4.การนำเครื่องมือไปติดบริเวณฟัน ทำให้การทำความสะอาดฟันทำได้ยากขึ้น หากมีการกรอชั้นเคลือบฟันออก จะเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ. 5.ลวดจัดฟันที่ไมได้มาตรฐาน ปนเปื้อนด้วยโลหะหนัก เช่น ตะกั่ว ปรอท สารหนู หากติดนานๆโลหะหนักอาจะส่งผลต่อการทำงานของตับ หัวใจ และอาจเสี่ยงต่อโรคมะเร็งได้ 6.เครื่องมือไม่ผ่านการฆ่าเชื้อโรค อาจเสี่ยงต่อการถ่ายทอดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและวัณโรค