คุณกำลังมองหาอะไร?

ลักฐานการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 รอบ 5 เดือนหลัง

กรมอนามัย พร้อมให้ข้อมูลข่าวสารที่มีประโยชน์สำหรับคุณ

24.07.2561
4
0
แชร์
24
กรกฎาคม
2561

หลักฐานการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 รอบ 5 เดือนหลัง

หลักฐานการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 รอบ 5 เดือนหลัง
กลุ่มพัฒนาทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยและวัยเรียน สำนักทันตสาธารณสุข


ตัวชี้วัดที่ 1.1 อัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน (บังคับ)
กิจกรรมดำเนินการ รอบที่ 1: 5 เดือนหลัง (มีนาคม-กรกฎาคม 2561)
เกณฑ์การประเมิน/ กิจกรรมดำเนินการ
หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 46
หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 48
หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 50
หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 52
หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 54
เอกสารประกอบการพิจารณา
 
           ตัวชี้วัด 1.2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
มีตัวชี้วัดร่วม 3 ตัว ประกอบด้วย
- ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30, และ 42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย
- ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30, และ 42 เดือน ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ พบพัฒนาการสงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก)
- ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี
                  เกณฑ์การประเมิน/ กิจกรรมดำเนินการ
1. สื่อสารประชาสัมพันธ์องค์ความรู้ แนวทางปฏิบัติ ผ่านช่องทางต่าง ๆ
2. ขับเคลื่อนการใช้มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ พ.ศ. 2560
3. มีการเสริมสร้างศักยภาพของพนักงานเจ้าหน้าที่และบุคลากรสาธารณสุขในการบังคับใช้พระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560 และการใช้ Application
4. มีระบบเฝ้าระวังและรายงาน เช่น การละเมิดพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560
5. กำกับติดตามเยี่ยมเสริมพลังพื้นที่เป้าหมาย
6. รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลการดำเนินงานและผลการติดตามงานในพื้นที่ และส่งคืนข้อมูลให้พื้นที่ รวมทั้งมีการคืนข้อมูลให้กับพื้นที่
7. สำรวจภาวะโภชนาการและพฤติกรรมสุขภาพในสตรีและเด็กปฐมวัยและวิเคราะห์ข้อมูล
8. รายงานผลการกำกับติดตามการดำเนินงานมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต และตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย พร้อมข้อเสนอแนะ
9. รายงาน เด็ก 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
10. รายงานความครอบคลุมการคัดกรองพัฒนาการเด็ก
11. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาสมวัย
12.ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก)
13. ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
 
เอกสารประกอบการพิจารณา
- หนังสือราชการ
- รูปถ่ายกิจกรรม
- รายงานการละเมิดพรบ.ฯ
- หนังสือถึงเขต จังหวัด รูปภาพ
- ผลการสำรวจ ฯ
- ข้อมูล HDC
 
 
ตัวชี้วัดที่ 2.1 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน/กลุ่มงานสู่ระดับบุคคล
 
 
 
 
 
หลักฐานการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 รอบ 5 เดือนหลังกลุ่มพัฒนาทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยและวัยเรียน สำนักทันตสาธารณสุข ตัวชี้วัดที่ 1.1 อัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน (บังคับ) กิจกรรมดำเนินการ รอบที่ 1: 5 เดือนหลัง (มีนาคม-กรกฎาคม 2561) เกณฑ์การประเมิน/ กิจกรรมดำเนินการหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 46 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 48 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 50 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 52 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 54เอกสารประกอบการพิจารณา ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก เฉพาะเขตรับผิดชอบ (คน) (ใช้แบบความครอบคลุม) จาก HDC ตัวชี้วัด 1.2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย มีตัวชี้วัดร่วม 3 ตัว ประกอบด้วย - ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30, และ 42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย - ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30, และ 42 เดือน ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ พบพัฒนาการสงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) - ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี เกณฑ์การประเมิน/ กิจกรรมดำเนินการ1. สื่อสารประชาสัมพันธ์องค์ความรู้ แนวทางปฏิบัติ ผ่านช่องทางต่าง ๆ 2. ขับเคลื่อนการใช้มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ พ.ศ. 2560 3. มีการเสริมสร้างศักยภาพของพนักงานเจ้าหน้าที่และบุคลากรสาธารณสุขในการบังคับใช้พระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560 และการใช้ Application 4. มีระบบเฝ้าระวังและรายงาน เช่น การละเมิดพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560 5. กำกับติดตามเยี่ยมเสริมพลังพื้นที่เป้าหมาย 6. รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลการดำเนินงานและผลการติดตามงานในพื้นที่ และส่งคืนข้อมูลให้พื้นที่ รวมทั้งมีการคืนข้อมูลให้กับพื้นที่ 7. สำรวจภาวะโภชนาการและพฤติกรรมสุขภาพในสตรีและเด็กปฐมวัยและวิเคราะห์ข้อมูล 8. รายงานผลการกำกับติดตามการดำเนินงานมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต และตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย พร้อมข้อเสนอแนะ 9. รายงาน เด็ก 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 10. รายงานความครอบคลุมการคัดกรองพัฒนาการเด็ก 11. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาสมวัย 12.ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) 13. ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เอกสารประกอบการพิจารณา- การสื่อสารผ่าน social media Application - หนังสือราชการ - หลักฐานการเข้าร่วมประชุม/วิทยากร การเยี่ยมเสริมพลัง 1000 วัน อุตรดิตถ์ การเยี่ยมเสริมพลัง กาญจนบุรี - รูปถ่ายกิจกรรม - รายงานการละเมิดพรบ.ฯ - หนังสือถึงเขต จังหวัด รูปภาพ - สรุปการประชุม - รายงานนิเทศ - ผลการสำรวจ ฯ - ข้อมูล HDC - รายงานการดำเนินงานมหัศจรรย์ 1,000 วันฯและตำบลส่งเสริมเด็กฯ1Page การเยี่ยมเสริมพลัง จังหวัดอ่างทอง 1Page การเยี่ยมเสริมพลัง จังหวัดหนองบัวลำภู- แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากแม่และเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัดที่ 1.4 ร้อยละเด็กกลุ่มอายุ 0- 12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (cavity free) ตัวชี้วัดที่ 2.1 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน/กลุ่มงานสู่ระดับบุคคล - การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับกลุ่มงานสู่ระดับบุคคล - แบบหมอบหมายงานรายบุคคล ตัวชี้วัดที่ 2.4 ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ตัวชี้วัดที่ 2.5 ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีผลงานวิจัย/R2R/KM ที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย 1 เรื่อง - การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากเด็กอนุบาลโดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงาน/ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชน (หน้า S11-22) ตัวชี้วัดที่ 2.8 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนกรมอนามัยก้าวสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูง (องค์กรคุณภาพคู่คุณธรรม) ตามแนวทาง PMQA

กรมอนามัย
เรามีสาระสุขภาพดีๆ
ส่งตรงถึงคุณ
ทุกวัน